Skip to content
  • TH
    • EN
    • CN
    • AR
  • TH
    • EN
    • CN
    • AR
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Doctor’s Health Insights
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา
Menu
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Doctor’s Health Insights
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา

การส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น

บทความ

โรงพยาบาลพระรามเก้า

  • วันที่โพสต์ 7 ตุลาคม 2024
ส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น

คือการส่องกล้องตรวจเยื่อบุคอ หลอดอาหาร กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นการใช้กล้องที่มีลักษณะเป็น Fiber Optic ทีปลายกล้องมีเลนส์ขยายภาพ อีกด้านหนึ่งเป็นส่วนควบคุมซึ่งต่อเข้ากับเครื่องกำเนิดแสง แล้วส่งภาพมาปรากฏบนจอโทรทัศน์ โดยสอดกล้องเข้าไปทางปาก

ควรส่องกล้องเมื่อใด

  • อาเจียนเป็นเลือด
  • อาการปวดท้อง
  • เสียดแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่

ประโยชน์ของการส่องกล้อง

  • ตรวจหาความผิดปกติหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น
  • ตรวจหามะเร็งขั้นต้นของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น โดยตัดชิ้นเนื้อไปตรวจวิเคราะห์
  • ตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย H.Pylori (เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของมะเร็งกระเพาะอาหาร
  • ติดตามผลการรักษาแผลในกระเพาะอาหารว่าเป็นเนื้อดีหรือเนื้อร้าย โดยการตัดชิ้นเนื้อซ้ำในตำแหน่งเดิม
  • กรณีพบจุดเลือดออก สามารถฉีดยา ใช้กระแสไฟฟ้าจี้ หรือใช้ Hemoclip หนีบห้ามเลือด
  • กรณีที่มีเส้นเลือดดำโป่งพองหรือแตกที่ส่วนปลายหลอดอาหาร ซึ่งพบในผู้ป่วยตับแข็ง สามารถห้ามเลือดโดยการรัดเส้นเลือดดำโป่งพองหรือแตกนี้ได้
  • ใช้คีบ ก้างปลา กระดูกเป็ด ไก่ หรือสิ่งแปลปลอมที่ติดค้างในคอและหลอดอาหารออก
  • สามารถขยายตำแหน่งที่มีการตีบตันของทางเดินอาหาร เช่น การตีบตันเนื่องมาจากมะเร็งของหลอดอาหาร หรือผลข้างเคียงจากการกลืนกรดหรือด่าง

การเตรียมตัวก่อนตรวจ

  • ก่อนตรวจ 1 วัน ควรละเว้นอาหารที่ระคายเคืองกระเพาะ เช่น อาหารรสจัด สุรา กาแฟ
  • งดอาหาร และเครื่องดื่มทุกชนิดก่อนตรวจ อย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
  • ภายหลังการตรวจ อาจมีการระคายเคืองและอาจมีเสมหะปนเลือดเล็กน้อย
  • ถ้ามีอาการผิดปกติ เช่น กลืนไม่ลง ปวดบวมบริเวณลำคอ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก มีไข้สูง ควรรีบมาพบแพทย์

บทความล่าสุด

ริดสีดวงทวาร

ริดสีดวงทวาร กับปัญหาหนักใจที่แก้ไขได้ รักษาเร็ว ฟื้นตัวไว

อ่านเพิ่มเติม
ผ่าตัดไส้เลื่อน

ผ่าตัดไส้เลื่อน วิธีรักษาไส้เลื่อนที่มีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนรุนแรง

อ่านเพิ่มเติม
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่

ผู้หญิงควรรู้! เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่คืออะไร มีสัญญาณเตือนอย่างไรบ้าง?

อ่านเพิ่มเติม
ดูบทความทั้งหมด

ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกับ Praram 9 V

ปรึกษาแพทย์ได้ทุกที่ผ่านทางวิดีโอคอล (Telemedicine)

  • Praram 9 Hospital
  • @praram9hospital

แพทย์ผู้เขียนบทความ

 

ศูนย์แพทย์

ศูนย์ทางเดินอาหารและตับ

ศูนย์ทางเดินอาหารและตับ

เยี่ยมชม

ดูทั้งหมด

บทความอื่นๆ

ริดสีดวงทวาร

ริดสีดวงทวาร กับปัญหาหนักใจที่แก้ไขได้ รักษาเร็ว ฟื้นตัวไว

ริดสีดวงทวาร มีสาเหตุมาจากการเพิ่มแรงดันในช่องทวารหนัก ทำให้เนื้อเยื่อหลอดเลือดในช่องทวารหนัก (Anal cushion) เกิดการขยายตัวเป็นหัวริดสีดวง

อ่านเพิ่มเติม
ผ่าตัดไส้เลื่อน

ผ่าตัดไส้เลื่อน วิธีรักษาไส้เลื่อนที่มีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนรุนแรง

ผ่าตัดไส้เลื่อน เป็นวิธีรักษาไส้เลื่อนที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด โดยเฉพาะการผ่าแบบส่องกล้อง จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนรุนแรง และลดการเป็นซ้ำได้

อ่านเพิ่มเติม
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่

ผู้หญิงควรรู้! เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่คืออะไร มีสัญญาณเตือนอย่างไรบ้าง?

เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) คือภาวะที่เนื้อเยื่อในโพรงมดลูกเจริญนอกมดลูก เช่น รังไข่หรือท่อนำไข่ ทำให้เกิดการอักเสบและปวดท้องประจำเดือนรุนแรง

อ่านเพิ่มเติม
อ่านบทความทั้งหมด
Facebook-f Youtube Instagram Line
  • 1270
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • นัดหมาย
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ข่าว และกิจกรรม รพ.
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดและเงื่อนไข

Copyright © 2025 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital

  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Doctor’s Health Insights
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา